ไฟล์ประกอบ

ไฟล์ประกอบ

เปิดรับฟังความคิดเห็น

8 ตุลาคม 2564 ถึง 14 ตุลาคม 2564 (เป็นเวลา 6 วัน ไม่นับรวมวันที่เปิด)

คำถาม/ความคิดเห็น 1

ข้อความ

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

12 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 2

ข้อความ

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

12 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 3

ข้อความ

ข้อ 4.3 คุณสมบัติทางเทคนิค ข้อ 4.3.1 แผงเซลล์แสงอาทิตย์จากคุณลักษณะของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ธ.ก.ส กำหนดให้แผงที่ได้มาตรฐาน มอก ซึ่งปัจจุบันมีอยู่ 3 ยี่ห้อ หรือ แผงเซลล์ที่ได้มาตรฐาน IEC Tier 1 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากโรงงานผลิตในจีน ในการประกวดราคาครั้งนี้ ถ้ามีบริษัทที่เสนอแผงเซลล์ที่ได้มาตรฐาน มอก. หลายรายและมีบริษัทที่เสนอแผงที่ได้มาตรฐาน IEC หลายรายเช่นกัน แต่มีผู้ร้องว่าการประกวดราคาของภาครัฐ เมื่อมีผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน มอก. มากถึง 3 ยี่ห้อ ธ.ก.ส จะปรับให้ผู้เสนอราคาโดยใช้แผง IEC จากข้อเสนอทางเทคนิคไปหรือไม่

โดย

ภูชลัต

เมื่อ

12 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 4

ข้อความ

จากข้อกำหนดทางเทคนิค ข้อ 4.3.1 แผงเซลแสงอาทิตย์(Solar Panel) กำหนดให้แผงที่ได้มาตรฐาน มอก. หรือ แผงที่ได้มาตรฐาน IEC Tier 1 เข้าเสนอราคาในโครงการนี้ได้
คำถาม : ถ้าผู้ผลิตแผงที่เป็นผู้ได้มาตรฐาน มอก. ทั้ง 3 ราย ไปร้องต่อกรมบัญชีกลางเพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ต้องสนับสนุนสินค้าในประเทศไทยที่ได้ มอก. แล้ว ธกส. จะยกเลิกการประกวดราคาครั้งนี้หรือไม่ ? บริษัทเคยมีประสบการณ์ที่เจอกับ TOR แบบนี้ สุดท้ายก็เป็นสาเหตุให้มีการยกเลิกการประกวดราคาครับ

โดย

นายไพรัตน์

เมื่อ

12 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 5

ข้อความ

เดิม 4.3.1 แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Panels)
4.3.1.1 เป็นชนิด Mono Crystalline Silicon แบบ Half-cell มีขนาดกำลังผลิตไม่น้อยกว่า 440 วัตต์ ต่อแผง หรือคุณสมบัติที่ดีกว่าที่ผ่านเงือนไขการทดสอบมาตรฐาน STC (Slanolard Test Condition) ที่ความเข้มของแสงอาทิตย์ (Irradiance Condition) 1,000 W/m2 ที่อุณหภูมิแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 25?C และได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก.ไม่ต่ำกว่า มอก.เลขที่ 61215 เล่ม 1(1)-2561 และ มอก.2580 เล่ม 2-2562 หรือมีชื่อของผลิตภัณฑ์ อยู่ในรายการ Tier 1 ฉบับล่าสุดที่ได้รับการรองรับมาตรฐาน IEC 61215 หรือ IEC 61730 พร้อมแนบเอกสารรับรอง

โดย

นางสาวสุจริต

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 6

ข้อความ

แก้ไขเป็น 4.3.1.1 เป็นชนิด Mono Crystalline Silicon แบบ Half-cell มีขนาดกำลังผลิตไม่น้อยกว่า 440 วัตต์ ต่อแผงหรือคุณสมบัติที่ดีกว่า ที่ผ่านเงื่อนไขการทดสอบมาตรฐาน STC (Standard Test condition) ที่ความเข้มของแสงอาทิตย์ (Irradiance Condition) 1000 W/m2 ที่อุณหภูมิแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 25 OC และได้รับการรองรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. ไม่ต่ำกว่า มอก. เลขที่ 61215 เล่ม 1 (1) และ มอก. 2580 เล่ม 2-2560 เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยที่ได้รับการรับรอง Made in Thailand จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

โดย

นางสาวสุจริต

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 7

ข้อความ

หรือมีเอกสารยืนยันได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยไม่ใช้สวมสิทธิ์ เฉพาะว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทย โดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง ขอตรวจสอบแหล่งผลิตในประเทศไทย หากไม่ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยคณะกรรมการตรวจรับสงวนสิทธิ์ที่จะไม่รับสินค้าที่มิใช้ผลิตในประเทศไทย

โดย

นางสาวสุจริต

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 8

ข้อความ

เหตุผลในการที่ตัดมีชื่อของผลิตภัณฑ์อยู่ในรายการ Tier 1 ฉบับล่าสุด เนื่องจาก Tier 1 เป็นการจัดลำดับของผู้ผลิตที่มีการกำลังการผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ตั้งแต่ 200 MW ต่อปีขึ้นไป สำหรับหน่วยราชการในประเทศไทยมีประวัติการใช้งานไม่เกิน 30 MW ต่อปี ซึ่งเท่ากับ Tier 1 เป็นบริษัทในต่างประเทศ ผู้ผลิตในประเทศไทยมีกำลังผลิตไม่ถึง และตามนโยบายรัฐให้ซื้อพัสดุจากผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของงบประมาณ Tier 1 เป็นผู้ผลิตขนาดใหญ่ และไม่ใช่ผู้ผลิตในประเทศไทย และการตัดมาตรฐาน IEC 61215 และ IEC 61730 ออก

โดย

นางสาวสุจริต

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 9

ข้อความ

ในข้อกำหนดคุณสมบัติผู้เสนอราคาที่ 3.11.1
คำถาม : ในข้อกำหนด 3.11.1 นี้ ถ้าบริษัทมีผลงานการติดตั้งแล้วเสร็จตามสัญญา ขนาด 10Kw แบบ
Hybrid Technology และมีผลงานการติดตั้งในโครงการอื่นที่มีมูลค่าสัญญาจ้างและทำงานสำเร็จแล้วด้วยมูลค่าโครงการ มากกว่า 10 ล้านบาท ด้วย/หรือ
On-Grid Technology ในกรณีของบริษัทเป็นแบบนี้จะสอดคล้องตามข้อกำหนด 3.11.1 นี้หรือไม่ ? หรือว่าจะต้องมีผลงานการติดตั้งใน 1 สัญญาที่ทำงานเสร็จแล้วมูลค่าโครงการไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท ด้วย Hybrid Technology เท่านั้น ?

โดย

นายวธันญู

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 10

ข้อความ

อ้างถึง ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 และหนังสือด่วนที่สุดกรมบัญชีกลางที่กค(กวจ) 0405.2/ว845 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2560 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเป็นหน่วยงานของรัฐ การดำเนินการอยู่ภายใต้นโยบายของรัฐและต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

โดย

นางสาวสุจริต

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 11

ข้อความ

ตามพระราชบัญญัติที่อ้างถึง 1 มาตรา 6 เพื่อให้การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุโดยใช้เงินงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ และป้องกันปัญหาการทุจริต ให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามแนวทางของพระราชบัญญัตินี้ และกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้

โดย

นางสาวสุจริต

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 12

ข้อความ

ผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐมิได้ปฎิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กฎกระทรวง ระเบียบหรือประกาศที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐมีสิทธิร้องเรียนไปยังหน่วยงานของรัฐนั้น หรือคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แล้ว แต่กรณีก็ได้ จึงเรียนมาเพื่อแก้ไขให้ถูกต้องตามที่อ้างถึงพระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างพ.ศ.2560

โดย

นางสาวสุจริต

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 13

ข้อความ


ตามประกาศธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกตษรตามที่อ้าง 1 นั้น เป็นงานซื้อตามหนังสือกรมบัญชีกลางที่อ้างถึง 4 ที่ กค(กวจ) 0404.2/ว.845 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2564 ข้อ
4.1.4 การจัดซื้อโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
4.1.4.1 ให้หน่อยงานของรัฐนำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะตามข้อ 4.1.1.2 ไปตรวจสอบ WWW.mit.fti.or.th ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าพัสดุดังกล่าวมีผู้ประกอบการมาขึ้นทะเบียนว่าเป็นพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือไม่ หากกรณีปรากฏดังนี้

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 14

ข้อความ

(1) มีผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองและออกเครื่องหมายสินค้าที่ผลิตภายในประเทศไทย (Made in Thailand) ตั้งแต่ 6 รายขึ้นไป ให้กำหนดในรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะว่าเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศ ที่ได้รับการรับรองจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(2) ไม่มีผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองและออกเครื่องหมายสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ (Made in Thailand) หรือมีแต่น้อยกว่า 6 ราย ให้กำหนดในรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะว่าเป็นพัสดุที่ผลิตในประเทศ เว้นแต่เป็น

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 15

ข้อความ

กรณีตามข้อ 4.1.1.1 หรือกรณีที่หน่วยงานรัฐได้ดำเนินการตามข้อ 4.1.1.3 แล้ว
จากรายละเอียดดังกล่าวข้างต้น แผงเซลล์แสงอาทิตย์ในการค้นหาจาก WWW.mit.fti.or.th ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พบว่ามีผู้ผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ได้รับการรับรอง WWW.mit.fti.or.th จำนวน 4 ราย

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 16

ข้อความ

อ้างถึง?1. ประกาศร่างประกวดราคาซื้อพร้อมติดตั้งระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าสำรองจากแสงอาทิตย์ (Solar Cell with Storage Unit) อาคารสำนักงานสาขา Eco-Efficiency ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)
?2. พระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 17

ข้อความ


?3. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
?4. หนังสือด่วนที่สุดกรมบัญชีกลางที่กค(กวจ) 0405.2/ว845 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2560

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 18

ข้อความ

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษ๖ณเป็นหน่วยงานของรัฐ การดำเนินการอยู่ภายใต้นโยบายของรัฐและต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ตามพระราชบัญญัติที่อ้างถึง 2 มาตรา 6 เพื่อให้การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุโดยใช้เงินงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ และป้องกันปัญหาการทุจริต

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 19

ข้อความ

ให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามแนวทางของพระราชบัญญัตินี้ และกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 20

ข้อความ

ตามที่อ้างถึง 3 ข้อ 220 ผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐมิได้ปฎิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กฎกระทรวง ระเบียบหรือประกาศที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐมีสิทธิร้องเรียนไปยังหน่วยงานของรัฐนั้น หรือคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แล้ว แต่กรณีก็ได้

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 21

ข้อความ

ตามหนังสือกรมบัญชีกลางด่วนที่สุดที่ กค(กวจ) 0405.2/ว845 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2564 เรื่องอนุมัติยกเว้นและกำหนดแนวทางการปฎิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2563 ประกาศที่อ้างถึง 1 เป็นงานจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง การดำเนินการต้องดำเนินการ

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 22

ข้อความ

ตามข้อ 4.3.1.1 หน่วยงานของรัฐต้องกำหนดร่างขอบเขตงานและกำหนดให้คู่สัญญาต้องใช้พัสดุประเภทวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่จะใช้ในงานจ้างเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศโดยต้องใช้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของมูลค่าพัสดุที่จะใช้ในงานก่อสร้างทั้งหมดตามสัญญา ข้อ 1.2.3 กรณีการจัดจ้างที่มิใช่งานก่อสร้างให้หน่วยงานของรัฐกำหนด

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 23

ข้อความ

กำหนดในขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะใช้ในงานจ้างว่าให้ใช้พัสดุส่งเสริมการผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของพัสดุที่จะใช้ในงานจ้าง
?ตามที่อ้างถึง 3. ระเบียบกระทรวงการคลังข้อ 21 วรรค 2 เพื่อให้การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้างมีมาตรฐาน

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 24

ข้อความ

และเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ หากพัสดุที่จะซื้อหรือจ้างใดมีประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้วให้กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง หรือรายการในการก่อสร้างตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือเพื่อความสะดวกจะระบุเฉพาะหมายเลขมาตรฐานก็ได้หรือในกรณีพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 25

ข้อความ

ใดยังไม่มีประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแต่มีผู้ได้รับการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ไว้กับกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ให้กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้างหรือรายการในการก่อสร้างให้สอดคล้องกับรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะตามที่ระบุในคู่มือซื้อหรือใบแทรกคู่มือซื้อที่กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำขึ้น

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 26

ข้อความ

ตามประกาศธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกตษรตามที่อ้าง 1 นั้น เป็นงานซื้อตามหนังสือกรมบัญชีกลางที่อ้างถึง 4 ที่ กค(กวจ) 0404.2/ว.845 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2564 ข้อ
4.1.4 การจัดซื้อโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
4.1.4.1 ให้หน่อยงานของรัฐนำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะตามข้อ

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 27

ข้อความ

จากข้อกำหนดทางเทคนิค ข้อ 4.3.1 แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Panels) ไม่ปฎิบัตฺตามพระราชบัญญัติ
อ้างถึง
1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
2. พระราชบัญญัติจัดซื้จัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
3. หนังสือด่วนที่สุดกรมบัญชีกลางที่กค(กจว) 0405.2/ว845 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2564

โดย

บริษัทไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 28

ข้อความ

4.1.1.2 ไปตรวจสอบ WWW.mit.fti.or.th ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าพัสดุดังกล่าวมีผู้ประกอบการมาขึ้นทะเบียนว่าเป็นพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือไม่ หากกรณีปรากฏดังนี้
(1) มีผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองและออกเครื่องหมายสินค้าที่ผลิตภายในประเทศไทย (Made in Thailand) ตั้งแต่ 6 รายขึ้นไป ให้กำหนดในรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะว่าเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศ ที่ได้รับการรับรองจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 29

ข้อความ

(2) ไม่มีผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองและออกเครื่องหมายสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ (Made in Thailand) หรือมีแต่น้อยกว่า 6 ราย ให้กำหนดในรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะว่าเป็นพัสดุที่ผลิตในประเทศ เว้นแต่เป็นกรณีตามข้อ 4.1.1.1 หรือกรณีที่หน่วยงานรัฐได้ดำเนินการตามข้อ 4.1.1.3 แล้ว

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 30

ข้อความ

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเป็นหน่วยงานของรัฐ การดำเนินการอยู่ภายใต้นโยบายของรัฐและต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ตามที่อ้างถึง 1 ข้อ 220 ผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐมิได้ปฎิบัตฺให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ มีสิทธิร้องเรียนไปยังหน่วยงานของรัฐนั้น หรือคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แล้ว แต่กรณีก็ได้

โดย

บริษัทไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 31

ข้อความ

จากรายละเอียดดังกล่าวข้างต้น แผงเซลล์แสงอาทิตย์ในการค้นหาจาก WWW.mit.fti.or.th ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พบว่ามีผู้ผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ได้รับการรับรอง WWW.mit.fti.or.th จำนวน 4 ราย

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 32

ข้อความ

ดังนั้นตามที่อ้างถึง 4 ข้อ 4.1.4.1 (2) ไม่มีผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองและออกเครื่องหมายสินค้าที่ผลิตภายในประเทศไทย (Made in Thailand) หรือมีแต่น้อยกว่า 6 ราย ให้กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะว่าเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศ จึงขอให้แก้ไข คุณสมบัติทางเทคนิคของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ให้ถูกต้องตามที่อ้างถึง 2 และ 3 และ 4 ดังนี้

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 33

ข้อความ

ตามที่อ้างถึง 2 มาตรา 6 เพื่อให้การปฎิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุโดยใช้เงินงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ และป้องกันปัญหาการทุจริต ให้หน่วยงานของรัฐปฎิบัติตามแนวทางของพระราชบัญญัตินี้

โดย

บริษัทไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 34

ข้อความ

ตามที่อ้างถึง 3 เรื่องอนุมัติยกเว้นและกำหนดแนวทางการปฎิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดุ และวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2563 ประกาศของ ธ.ก.ส. เป็นงานจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง การดำเนินการต้องดำเนินการตามข้อ 4.3.1.1 หน่วยงานของรัฐต้องกำหนดร่างขอบเขตงานและกำหนดให้คู่สัญญาต้องใช้พัสดุประเภทวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่ใช้ในงานจ้างเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศโดยต้องใช้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของมูลค่าพัสดุที่จะใช้ในงานก่อสร้างทั้งหมดตามสัญญา

โดย

บริษัทไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 35

ข้อความ

จากเดิม
?4.3.1 แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Panels)
??4.3.1.1 เป็นชนิด Mono Crysfalline Silicon แบบ Half-cell มีขนาดกำลังผลิตไม่น้อยกว่า 440 วัตต์ ต่อแผง หรือคุณสมบัติที่ดีกว่าที่ผ่านเงือนไขการทดสอบมาตรฐาน STC (Slanolard Test Condition) ที่ความเข้มของแสงอาทิตย์ (Irradiance Condition) 1,000 W/m2 ที่อุณหภูมิแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 25?C และได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก.ไม่ต่ำกว่า

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 36

ข้อความ

มอก.เลขที่ 61215 เล่ม 1(1)-2561 และ มอก.2580 เล่ม 2-2562 หรือมีชื่อของผลิตภัณฑ์ อยู่ในรายการ Tier 1 ฉบับล่าสุดที่ได้รับการรองรับมาตรฐาน IEC 61215 หรือ IEC 61730 พร้อมแนบเอกสารรับรอง

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 37

ข้อความ

แก้ไขเป็น
4.3.1 แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Panels)
4.3.1.1 เป็นชนิด Mono Crystalline Silicon แบบ Half-cell มีขนาดกำลังผลิตไม่น้อยกว่า 440 วัตต์ ต่อแผงหรือคุณสมบัติที่ดีกว่า ที่ผ่านเงื่อนไขการทดสอบมาตรฐาน STC (Standard Test condition) ที่ความเข้มของแสงอาทิตย์ (Irradiance Condition) 1000 W/m2 ที่อุณหภูมิแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 25 OC

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 38

ข้อความ

ตามประกาศ ธ.ก.ส. เป็นงานซื้อตามหนังสือกรมบัญชีกลางที่อ้างถึง 3 ที่กค(กวจ)0404.2/ว.845 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2564 ข้อ4.1.4 การจัดซื้อโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
ตามที่อ้างถึง 3 ข้อ 4.1.4.1 (2) ไม่มีผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองและออกเครื่องหมายสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย (Made in Thailand) หรือมีแต่น้อยกว่า 6ราย ให้กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะว่าเป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศ จึงขอแก้ไขคุณสมบัติทางเทคนิคของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ให้ถูกต้องตามที่อ้าง 1 และ 2 และ 3 ดังนี้

โดย

บริษัทไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 39

ข้อความ

และได้รับการรองรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. ไม่ต่ำกว่า มอก. เลขที่ 61215 เล่ม 1 (1) และ มอก. 2580 เล่ม 2-2560 เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยที่ได้รับการรับรอง Made in Thailand จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือมีเอกสารยืนยันได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยไม่ใช้สวมสิทธิ์ เฉพาะว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทย โดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง ขอตรวจสอบแหล่งผลิตในประเทศไทย

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 40

ข้อความ

และได้รับการรองรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. ไม่ต่ำกว่า มอก. เลขที่ 61215 เล่ม 1 (1) และ มอก. 2580 เล่ม 2-2560 เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยที่ได้รับการรับรอง Made in Thailand จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือมีเอกสารยืนยันได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยไม่ใช้สวมสิทธิ์ เฉพาะว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทย โดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง ขอตรวจสอบแหล่งผลิตในประเทศไทย

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 41

ข้อความ

หากไม่ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทยคณะกรรมการตรวจรับสงวนสิทธิ์ที่จะไม่รับสินค้าที่มิใช้ผลิตในประเทศไทย
เหตุผลในการที่ตัดมีชื่อของผลิตภัณฑ์อยู่ในรายการ Tier 1 ฉบับล่าสุด เนื่องจาก Tier 1 เป็นการจัดลำดับของผู้ผลิตที่มีการกำลังการผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ตั้งแต่ 200 MW ต่อปีขึ้นไป สำหรับหน่วยราชการในประเทศไทยมีประวัติการใช้งานไม่เกิน 30 MW ต่อปี

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 42

ข้อความ

ซึ่งเท่ากับ Tier 1 เป็นบริษัทในต่างประเทศ ผู้ผลิตในประเทศไทยมีกำลังผลิตไม่ถึง และตามนโยบายรัฐให้ซื้อพัสดุจากผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของงบประมาณ Tier 1 เป็นผู้ผลิตขนาดใหญ่ และไม่ใช่ผู้ผลิตในประเทศไทยตามที่อ้างถึง 4 ข้อ 4.1.1.1 และ 4.1.4.1 (2) และการตัดมาตรฐาน IEC 61215 และ IEC 61730 ออก เนื่องจากไม่ได้กำหนดในระเบียบกระทรวงการคลังที่อ้างถึง 3 ข้อ 21 วรรค 2 และมาตรฐาน IEC ไม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทย

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 43

ข้อความ

และขอแก้ไขข้อ 4.1.6,4.2.1,4.2.2,4.2.3,4.2.4,4.2.5,4.2.6 และ 4.2.8 จากผู้ยื่นเสนอราคาเป็นผู้รับจ้าง เพราะเป็นเรื่องของผู้รับจ้าง มิใช่ผู้เสนอราคา
เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและมีการแข่งขันกับผลิตภัณฑ์หลายยี่ห้อ ตามพระราชบัญญัติที่อ้างถึง 2 มาตรา 8(1) คุ้มค่าและมาตรา 8(2) โปร่งใส ขอให้เพิ่มเติมคุณลักษณะของเครื่องแปลงไฟฟ้า (INVERTER) ข้อ 4.3.3.2 จาก เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผ่านหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียน INVERTER ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค)

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 44

ข้อความ

ทางบริษัทฯ ขอเสนอความคิเห็นให้ตัดชื่อของผลิตภัณฑ์ อยู่ในรายการ Tire 1 ฉบับล่าสุดที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน IEC 61215 หรือ IEC 61730 ออก และเพิ่มเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเศไทยที่ได้รับการรับรอง Made in Thailand จากสภาอุสาหกรรมแห่งประเทศไทย

โดย

บริษัทไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 45

ข้อความ

แก้ไขเป็น
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผ่านหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียน INVERTER ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) หรือได้ผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียน INVERTER ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) และอยู่ระหว่างการขึ้นทะเบียน INVERTER ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) โดยที่ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบต้องได้รับการขึ้นทะเบียน INVERTER ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) ขณะเชื่อมต่อกับการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค)

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 46

ข้อความ

แก้ไขข้อ 4.3.3.14 จาก
ผลิตจากโรงงานที่ได้รับรองมาตรฐาน ISO 9001, ISO 14001 และ ISO 18001 ทางด้าน Solar Charger และ INVERTER หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตประกอบในประเทศไทยต้องมีใบอนุญาต รง.4

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 47

ข้อความ

เป็น ข้อ 4.3.3.14
ผลิตจากโรงงานที่ได้รับรองมาตรฐาน ISO 9001, ISO 14001 และ ISO 45001 ทางด้าน Solar Charger และ INVERTER หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตประกอบในประเทศไทยต้องมีใบอนุญาต รง.4

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 48

ข้อความ

เนื่องจาก ISO 18001 ไม่มีในระบบมีแต่ OHSAS 18001 และ ซึ่งหมดอายุในเดือนมีนาคมและ TIS 18001 และก็จะหมดอายุแล้ว OHSAS 18001 ได้เปลี่ยนเป็น ISO 45001 ตั้งแต่เดือนมีนาคม
จึงเรียนมาเพื่อแก้ไขให้ถูกต้องตามที่อ้างถึงข้อ 2 มาตรา 6 และอ้างถึง 3 ข้อ 21 วรรค 2 และอ้างถึง 4 ข้อ 4.1.1.1 และ 4.1.4.1(2)

โดย

บริษัท พีซีซี

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 49

ข้อความ

เนื่องจากใน TOR มีการระบุ
3.11 ผลงานการติดตั้ง 10,000,000 บาท มูลค่ามากกว่าและไม่สอดคล้องกับงานติดตั้งที่ตกสาขาละ 658,050 บาทหรือไม่
4.3.5 แบตเตอรี่ ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านหลักเกณฑ์ที่กำหนดใน TOR เฉพาะเจาะจงมากไป

โดย

ประพิณพัฒน์

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 50

ข้อความ

ที่ข้อกำหนด 4.1.6 คณะกรรมการร่าง TOR ควรเขียนใหม่เป็น " 4.1.6 ผู้ยื่นเสนอราคาที่ชนะการประกวดราคา ....." คณะกรรมการร่าง TOR ควรมีจินตนาการถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อร้อยเรียงลำดับ มิใช่ให้ผู้เสนอราคาต้องทำงานก่อนโดยไม่รู้ว่าชนะ หรือแพ้การประกวดราคา
ประเด็นที่ 2 ในการโพสครั้งนี้คือ ข้อกำหนดความต้องการทางเทคนิค ข้ความสามารถของยี่ห้อหนึ่ง ที่ผลิตจากประเทศจีนอย่างชัดเจนอ 4.1.1.4 ที่เป็นการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะอิงกับยี่หนึ่งชัดเจน

โดย

นายไพรัตน์

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

คำถาม/ความคิดเห็น 51

ข้อความ

จากข้อกำหนดที่ 4.1 ขอบเขตงาน
ประเด็นคำถามคือ เป็นการใช้ไฟฟ้า 1 เฟส มาตลอด แต่ทำไมที่ข้อ 4.3.3.15 กำหนดให้เป็นเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า 3 เฟส ขึ้นมา
คำถาม : กระแสไฟฟ้า 3 เฟสนี้เอาไปจ่าย Load อะไร ?

ประเด็นสุดท้าย ถามว่า ก่อนจัดทำร่าง TOR ได้ทำการศึกษาเบื้องต้นถึงความคุ้มค่าทางเศรฐศาสตร์มาแล้วหรือยัง ?

โดย

นายไพรัตน์

เมื่อ

14 ตุลาคม 2564

สรุปผล

ไม่มีผู้แสดงความคิดเห็น

กลับสู่ด้านบน